พุยพุย
ขับเคลื่อนโดย Blogger.
RSS

สัปดาห์ที่15




วันที่  28  เมษายน  2558



บันทึก

    วันนี้สอบร้องเพลง  ดิฉันจับฉลากได้เพลง  ดวงอาทิตย์


เนื้อเพลง

ยามเช้าตรู่อาทิตย์ทอแสงทอง
เป็นประกายเรืองรองผ่องนภา
ส่องสว่างไปทั่วแหล่งหล้า
บ่งเวลาว่ากลางวัน


  **************

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

สัปดาห์ที่ 14



วันที่21  เมษายน 2558


บันทึก

แผน IEP 
  • แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
  • เพื่อให้เด็กแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของเขา
  • ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
  • ระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดการประเมินผลเด็ก
การเขียนแผน  IEP
  • คัดแยกเด็กพิเศษ
  • ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
  • ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ
  • เด็กสามารถทำอะไรได้บ้าง
  • แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP
IEP ประกอบด้วย
  • ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
  • ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
  • การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
  • เป้าหมายระยะยาวประจำปี/ระยะสั้น
  • ระบุวัน เดือน ปี เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
  • วิธีการประเมินผล
ประโยชน์ต่อเด็ก
  • ได้เรียนรู้ตามความสามารของตน
  • ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตน
  • ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
  • ถ้าเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนจะไม่ถูกจัดเข้าชั้นเรียนเฉยๆ
ประโยชน์ต่อครู
  • เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับความสามารถและความต้องการของเด็ก
  • เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนและวิธีการสอนให้เหมาะกับเด็ก
  • ปรับเปลี่ยนได้เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไป
  • เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก
  • ตรวจสอบและประเมินได้เป็นระยะ
ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
  • ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความสามารถได้สูงสุดตามศักยภาพ
  • ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนเองอย่างไร
  • เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่อง และใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน
ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล

  1.การรวบรวมข้อมูล
  • รายงานทางการแพทย์
  • รายงานการประเมินด้านต่างๆ
  • บันทึกจากผู้ปกครอง  ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง
2.การจัดทำแผน
  • ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
  • กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและสั้น
  • กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม
  • จะต้องได้รับการรับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดจุดมุ่งหมาย
  • ระยะยาว
  • ระยะสั้น
จุดมุ่งหมายระยะยาว
  • กำหนดให้ชัดเจน แม้จะกว้าง
-น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
-น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้ดี
-น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นๆได้

จุดมุ่งหมายระยะสั้น
  • ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายหลัก
  • เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะ 2-3 วัน หรือ 2-3 สัปดาห์
  • จะสอนใคร
  • พฤติกรรมอะไร
  • เมื่อไหร่ ที่ไหน(ที่พฤติกรรมนั้นจะเกิดขึ้น)
  • พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน
ตัวอย่างที่ 1

  • ใคร                       อรุณ
  • อะไร                      กระโดดขาเดียวได้
  • เมื่อไหร่/ที่ไหน          กิจกรรมกลางแจ้ง
  • ดีขนาดไหน              กระโดดได้ขาละ 5 ครั้ง ในเวลา 30 วินาที
ตัวอย่างที่ 2
  • ใคร                         ธนภรณ์
  • อะไร                       นั่งเงียบๆ โดยไม่พูดอะไร
  • เมื่อไหร่/ที่ไหน           ระหว่างครูเล่านิทาน
  • ดีขนาดไหน               ช่วงเวลาการเล่านิทาน 10-15 นาที เป็นเวลา 5 วันติดต่อกัน
3.การใช้แผน
  • เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์แล้ว ครูจะนำไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้น
  • นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
  • แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
  • จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
-ต้องมีการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและความสามารถ โดยคำนึงถึง
  1. ขั้นตอนพัฒนาการของเด็กปกติ
  2. ตัวชี้วัดพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของพัฒนาการเด็ก
  3. อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมของเด็กและผู้ใหญ่ที่มีผลต่อการแสดงออกของเด็ก
4.การประเมินผล
  • โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
  • ควรมีการกำหนดวิธีการประเมินและเกณฑ์วัดผล
**การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรมอาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

สัปดาห์ที่13




วันที่ 7  เมษายน  2558


            บันทีก



                         ก่อนเริ่มเรียนอาจารย์ได้เฉลยคำถามข้อข้อสอบครั้งก่อน  และต่อด้วยการร้องเพลง
                       
                 จากนั่นเริ่มเข้าสู่บทเรียนที่อาจารย์เตรียมมาสอนในวันนี้   คือ  การส่งเสริมทักษะพื้น                                 
                  ฐานทางการเรียนรู้

 เป้าหมาย
  -เป็นการช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้
  - เพื่อให้เด็กรู้สึกต่อตนเอง ว่ากำลังทำอะไร
  -เพื่อให้เด็กมีความกระตื้อรื้อร้น  อยากรู้อยากเห็น


ช่วงความสนใจ

- เด็กพิเศษจะมีความสนใจสั้นเด็กจะจดจ่อกับกิจกรรมที่ทำ


การเรียนแบบ

-การเรียนแบบเป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีมากสำหรับเด็กพิเศษ
เด็กพิเศษจะเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง


 การทำตามคำสั่ง

- ครูต้องพูดซ้ำๆๆกับเด็กหลายๆๆรอบ
-คำสั่งของครูสับซ้อนหรือไม่


การรับรู้/การเคลื่อนไหว

-เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง5  คือ การได้ยิน เห็น  สัมผัส  ลิ้มรส  กลิ่น





ประเมินเพื่อน

   เพื่อนๆๆตั้งใจเรียนทำกิจกกรรม  อาจมีคุยกันบ้าง


ประเมินอาจารย์

  อาจารย์สอนเข้าใจง่ายในเนื้อหาสามารถนำไปใช้ได้จริง

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

สัปดาห์ที่12




วันที่  31   มีนาคม   2558



วันนี้อาจารย์งดคลาสเพื่อมาทำอุปกรณ์การเชรีย



  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

สัปดาห์ที่11


วันที่24  มีนาคม  2558


วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากสอบเก็บคะแนน ค่ะ!!!







  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

สัปดาห์ที่10

  วันที่ 17 มีนาคม 2558



บันทึก

- วันนี้ก่อนเข้าเนื้อหาการเรียนการสอน   อาจารย์ได้นำเอาเกมสนุกๆๆมาใหห้ทดสอบเล่นมันเกี่ยวกับความรู้สึกของเพื่อนๆๆแต่ล่ะคนที่แว๊บแรกคำที่จะพูดขึ้นมานั่นคืออะไร!!!!

- วันนี้เรียนเรื่องการช่วยเหลือตนเอง ของเด็กอายุ2-6 ปี ว่ามีลักษณะแบบไหนบ้าง


ประเมินเพื่อน
 

-  เพื่อนๆๆร่วมทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน


ประเมินอาจารย์


-    อาจารย์สอนเข้าใจในเนื้อหาสาระที่สามมารถนำไปปฎิบัติได้จริง




กิจกรรมทายคาบ   "วงกลมหลากสีทดสอบจิตใจ"







  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

สัปดาห์ที่9

บันทึกอนุทิน

รายวิชาการศึกษาการจัดประสบการณ์แบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย

 EAED3214  เวลา 14.10-17.30 น.

วันที่ 10 มีนาคม 2558 

อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น



กิจกรรมวันนี้

วันนี้อาจารย์นำเข้าสู่บทเรียนด้วยการนำเรื่องราวดีๆ และประสบการณ์

ต่างๆในเรื่อง การบรรจุราชการ ซึ่งหนูสนใจอย่างมากเลยค่ะ เพราะพี่

สาวหนูกำลังมองหาที่จะลงสอบ  และวันนี้อาจารย์ก็นัดเรียนรวมกัน

ทั้ง 2 กลุ่ม เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ จากนั้นอจารย์ก็มีเทคนิคใน

การนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการใช้ภาพเพื่อทายลักษณะนิสัยของตนเอง

 ซึ่งเป็นเชิงจิตวิทยา


การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กปฐมวัย

-การวัดความสามารถทางภาษา
: เขาใจในสิ่งที่ผู้อื่นพุดไหม
: ตอบสนองเมื่อมีคนพุดด้วย
: ถามหาสิ่งต่างๆๆไหม







- การออกเสียง / พูดไม่ชัด
: การพูดตกหล่น
: การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง

- การปฎิบัติของครูและผู้ใหญ่
: ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
: อย่าขัดจังหวะขนาดเด็กพูด

-ทักษะพื้นฐานทางภาษา
: ทักษะการรับรู้ภาษา
:การแสดงออกเสียง





  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS